Econometrics with R – Part2
R นั้นเป็นโปรแกรมที่เหมาะที่จะวิเคราะห์ข้อมูล การป้อนข้อมูลเข้าวิเคราะห์ใน R นั้นจึงนิยมทำในโปรแกรมอื่นก่อน เช่น ใน spreadsheet (MS Excel) หรือ SPSS แล้วค่อยนำเข้า (Import) ข้อมูลดังกล่าวเข้ามาวิเคราห์ใน R โดยสามารถทำได้โดยใช้ command ด้านล่างนี้
1. จากไฟล์นามสกุล .csv
สมมุติว่าต้องการนำเข้าไฟล์ data.csv
โดยแถวแรกของข้อมูลนั้นเป็นชื่อตัวแปร
data <- read.table("c:/data.csv", header=TRUE, sep=",", row.names="id")
2. จาก MS Excel
ให้ export ไฟล์ออกมาให้อยู่ในรูป .csv แล้วทำตามข้อที่ 1.
3. จาก SPSS หรือ PASW (IBM)
ให้ export ไฟล์ออกมาให้อยู่ในรูป .csv ก่อน
โดยใช้คำสั่ง “Save as” แล้วเลือกนามสกุลของไฟล์เป็น .csv
จากนั้นทำการนำเข้าข้อมูลไปในโปรแกรม R ตามข้อที่ 1
4. จาก Stata
library(foreign) data <- read.dta("c:/data.dta")
ตัวอย่างการเลือกตัวแปรเพื่อสร้างฐานข้อมูลย่อย (sub_data) จากฐานข้อมูลหลัก (data)
โดยสามารถเลือกตัวแปรได้โดยการ คลิ๊ก ร่วมกับ Shift (เลือกช่วงตัวแปร) และ Ctrl (เลือกทีละตัว)
data <- data.frame(replicate(26,list(rnorm(5)))) names(data) <- LETTERS sub_data <- data[select.list(names(data), multiple=TRUE)]
Source: Adapted from an answer of Josh O’Brien in Stackoverflow to the question from Jeromy Anglim
Related posts
Pairach, this is great! I’m trying to pick up on R but the official documentation isn’t the most clear. Just a suggestion, you could add in a few links to data sources you recommend to analyze. Something free, and safe to download would be great.
Many thanks Will. For the data sources, I have included the dataset use in this session “migration.xls” at the beginning of the post. Is this what you suggested?
Breezed right over it. Thanks Pairach!
I am also gathering some useful resources for new R useRs but still organising them. I wish I can share them in this website soon.